ความเข้าใจพื้นฐานของการพัฒนาระบบ
1. ภาพรวมของการพัฒนาระบบ
ระบบงานทางธุรกิจที่ใช้อยู่มักจะประกอบด้วยบุคลากร อุปกรณ์สำนักงานต่างๆรวมถึงระบบการเก็บรวบรวมข้อมูล เมื่อเวลาผ่านไปอาจมีการพัฒนาระบบให้ทำงานได้ดีขึ้น
1.1 นิยามของการพัฒนาระบบ
1.1.1 ความหมายทางเทคนิคของการพัฒนาระบบ
โดยนิยามหลักของคำว่าระบบแล้วอาจไม่ได้หมายถึงระบบสารสนเทศหรือเทคโนโลยีสารสนเทศโดยตรง แต่การทำงานในระบบย่อยในองค์กรหรือผลลัพธ์การทำงานของแต่ละระบบจะมีผลลัพทธ์ทางสารสนเทศเสมอ
1.1.2 การเรียกชื่อระบบในขณะพัฒนาระบบ
เพื่อให้เกิดความเข้าใจตรงกัน จึงมักนิยามของระบบในแต่ละช่วงพัฒนาดังนี้
1. ระบบปัจจุบัน
เป็นระบบการทำงานในเวลาปัจจุบันที่เป็นระบบที่ต้องการให้มีการพัฒนา
2.ระบบใหม่
เป็นระบบงานที่ได้ปรับปรุงมาจากระบบเดิมหรือพัฒนาขึ้นมาใหม่ เพื่อแทนที่ระบบปัจจุบัน
3. ระบบเดิมหรือระบบเก่า
คือระบบปัจจุบันที่ถูกปลดระวางการใช้งานหลังจากที่ได้ติดตั้งระบบใหม่มาแทนที่แล้ว
1.2 จุดเริ่มต้นของการพัฒนาระบบ
ในความเป็นจริงแล้ว ทุกระบบในโลกไม่มีระบบใดดีที่สุดหรือสมบูรณ์ที่สุด เพราะระบบที่ดีที่สุดในที่หนึ่ง อาจไม่เหมาะสมสำหรับบางที่ หรือระบบที่ดีที่สุด ก็อาจจะเป็นระบบที่ไม่ดีเมื่อเวลาผ่านไปสักระยะหนึ่ง จึงต้องมีการปรับปรุงพัฒนา
1.3 ปัจจัยที่ก่อให้เกิดการพัฒนาระบบ
1.3.1 ปัจจัยภายในระบบ (ปัจจัยในขอบเขตของระบบ)
1. บุคลากรที่ทำงานกับระบบต้องการให้ปรับปรุง เพราะผู้ที่ทำงานหรือใช้งานระบบนั้นจะมี
ประสบการณ์ และเห็นสภาพที่แท้จริงจนเกิดความเข้าใจในความสามารถหรือข้อจำกัดของระบบ
2. เจ้าของระบบต้องการพัฒนา เช่นผู้บริหารในองค์กรที่มีระบสารสนเทศต้องการให้ระบบมีความ
ทันสมัยหรือมีความสามารถมากขึ้น
3. ปัญหาหรือข้อผิดพลาดของระบบปัจจุบัน เนื่องจากไม่มีระบบใดที่สมบูรณ์ที่สุด
4. มีการพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ โดยหลักแล้วมักมาจากเทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น คอมพิวเตอร์
รุ่นใหม่ โปรแกรมเวอร์ชั่นใหม่ ระบบเครือข่ายความเร็วสูง
1.3.2 ปัจจัยภายนอกระบบ (สภาพแวดล้อมภายนอกของระบบ)
1. ความต้องการของบุคลากรภายนอกองค์กรที่เกี่ยวข้องกับระบบภายในองค์กร
2. การปรับตัวให้รับกับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นได้
1.4 ลักษณะแนวทางพัฒนาระบบสำหรับธุรกิจ
1.4.1 กำหนดวัตถุประวงค์และขอบเขตที่ชัดเจน
การพัฒนาระบบต้องกำหนดวัตถุประสงค์ของการพัฒนาก่อน เพราะการกำหนดวัตถุประสงค์การ
พัฒนาเป็นการกำหนดเป้าหมายของการพัฒนา
1.4.2 ใช้ปัจจัยจากสภาพแวดล้อมมามีส่วนในการพัฒนา การพัฒนาระบบที่สำเร็จไม่เพียงระบบทำงานได้ดีเยี่ยมเท่านั้น แต่ต้องใช้งานได้จริงในสภาพแวดล้อมของระบบด้วย
1.5 การวิเคราะห์และออกแบบระบบกับการพัฒนาระบบ
การวิเคราะห์ระบบนั้นจะเป็นการศึกษาระบบเก่าหรืองานที่ใช้อยู่ในปัจจุบันมีปัญหาอย่างไร และ
ปัญหานั้นเกิดขึ้นจากอะไร รวมถึงเป็นการคิดหาแนวทางว่าจะพัฒนาระบบที่ใช้อยู่ให้ดีขึ้นและทันสมัย
ได้อย่างไร
1.5.1 ความหมาย
- การวิเคราะห์ระบบ
การวิเคราะห์ระบบเป็นการศึกษาการทำงานในระบบการทำงานปัจจุบัน เพื่อให้เข้าใจถึงปัญหา
และความต้องการ (Requirement) ที่มาจากระบบปัจจุบัน และระบบเป็นข้อสรุปเพื่อปรับปรุงระบบปัจจุบัน
หรือออกแบบระบบใหม่
- การออกแบบระบบ
การออกแบบระบบเป็นการกำหนดแบบแผนในการสร้างระบบขึ้นมาใหม่ โดยผลลัพธ์งานของ
ระบบใหม่นั้นจะเป้นไปตามความต้องการที่ได้จาการวิเคราะห์ระบบ และแก้ไขข้อบกพร่องที่พบจากระบบ
ปัจจุบัน การกำหนดแบบแผนนี้อาจจะใช้วิธีปรับปรุงหรือแก้ไขระบบการทำงานของระบบ
1.5.2 ความสำคัญต่อการพัฒนาระบบ
- การวิเคราะห์ระบบทำให้ทราบปัญหาที่เกิดขึ้นจริงและทราบความต้องการที่แท้จริงในระบบ
ปัจจุบัน
- การออกแบบระบบทำให้เกิดการแก้ไขปัญหาโดยปรับปรุงระบบปัจจุบันหรือสร้างระบบใหม่
ทำงานตามจุดประสงค์ที่กำหนดไว้ได้มากที่สุด
- การวิเคราะห์และออกแบบมีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาระบบ เพราะเป็นแนวทางดำเนิน
การในพัฒนาระบบระบบใหม่ขึ้นมา และกำหนดผลลัพธ์ปลายทางเมื่อนำมาใช้งานจริง
1.6 ประเภทของการพัฒนาระบบ
การพัฒนาระบบแบ่งงานการพัฒนาเป็น 2 ประเภท ดังนี้
- ระบบเชิงตรรกะ (Logical system)
ระบบเชิงตรรกะเป็นระบบที่มีองค์ประกอบที่มีลักษณะเป็นนามธรรม จับต้องไม่ได้ แต่สามารถ
สะท้อนผลลัพธ์ออกมาให้เป็นรูปธรรม
- ระบบเชิงกายภาพ (Physical system)
ระบบเชิงกายภาพเป็นระบบที่มีองค์ประกอบเป็นรูปธรรม จับต้องได้ ที่นำมาประยุกต์ใช้งานให้
สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของระบบ
1.7 อุปสรรคการพัฒนาระบบ
การพัฒนาระบบมักมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงในองค์กร โดยเฉพาะวิธีการทำงานในองค์กร เพราะ
การพัฒนาระบบเกี่ยวข้องกับกระบวนการทำงานในองค์กรนั่นเอง
1.7.1 การต่อต้าน
การต่อต้านมักมีสาเหตุจากมุมมองของผู้ที่รับผลกระทบจากการพัฒนาระบบ ปัญหาความขัด
แย้งหรือที่เรียกว่าปัญหาทางการเมืองภายในองค์กร เช่น
- ความไม่ไว้วางใจ
- กลัวการสูญเสียอำนาจ
- ไม่ต้องการเปลี่ยนแปลง
- กลัวการเสียวเวลา
1.7.2 ความไม่ชัดเจนในความต้องการ
ในหลายครั้งที่องค์กรต้องการระบบการทำงานใหม่เหมือนต้องการก้าวให้ทันแฟชั่น หรือต้องการ
ผลลัพธ์ในด้านภาพลักษณ์มากกว่าผลลัพธ์ทางสารสนเทศที่ได้
- ความขัดแย้งในความต้องการของแต่ละฝ่ายที่เกี่ยวข้องในองค์กร
- ความไม่เข้าใจหรือความไม่ชัดเจนในความต้องการ
- ความไม่ชัดเจนในกระบวนการในระบบที่จะได้มาซึ่งผลลัพธ์ของระบบ
1.7.3 นโยบายด้านการรักษาข้อมูลภายใน
แต่ละองค์กรมักจะมีข้อมูลที่เสี่ยงต่อความเข้าใจผิด (Sensitive Information) ต่อบุคลลภายนอก
หรืออาจเป็นข้อมูลส่วนบุคคลที่องค์กรไม่ต้องการให้มีการเปิดเผย
2. วิธีการพัฒนาระบบ
การเลือกวิธีที่ใช้ในการพัฒนาระบบที่เหมาะสมสำหรับองค์กรแต่แรก นับว่าเป็นการกำหนดกลยุทธ์
การออกแบบระบบที่จะพัฒนาขึ้นเมื่อนำระบบมาใช้งานจริงเพราะจะช่วยให้เป็นแนวทางดำเนินการใน
ระบบออกแบบระบบที่เหมาะสมกับสภาพความพร้อมของอค์กร วิธีการพัฒนาระบบมีอยู่ 3 วิธีหลักๆ คือ
2.1 การพัฒนาระบบขึ้นมาเอง (In House / Custom Development)
2.1.1 ความหมาย
การพัฒนาระบบขึ้นมาเอง หมายถึง การพัฒนาระบบขึ้นมาใช้งานเองภายในองค์กร โดยองค์กรนั้น
มีบุคลากรด้านการพัฒนาระบบเป้นของตนเอง
2.1.2 ข้อดี
- สนองต่อความต้องการของผู้ใช้ระบบได้เต็มที่
- ลดค่าใช้จ่ายด้านการจัดหาทรัพยากรด้านอุปกรณ์ไอที
- ผู้ที่พัฒนาระบบจะรู้จักองค์กรอย่างดี
- กรณีเกิดปัญหาขณะใช้งานในระบบ สามารถดำเนินการแก้ไขปัญหาได้ทันทีจากบุคลากรใน
องค์กร
2.1.3 ข้อเสีย
- มีค่าใช้จ่ายสูงสำหรับบุคลากรสูงโดยเฉพาะบุคลากรด้านไอที
- เอกสารประกอบการพัฒนาระบบอาจไม่เป็นไปตามมาตรฐาน
- ประสบการณ์น้อย
2.2 การใช้บริการจากแหล่งภายนอก
2.2.1 ความหมาย
การใช้บริการจากแหล่งภายนอก หมายถึง การพัฒนาระบบขึ้นมาโดยการว่างจ้างบุคคลภายนอก
องค์กร
2.2.2 ข้อดี
- ไม่ต้องลงทุนด้านบุคลากรเอง
- ได้บริการที่เป็นเทคโนโลยีสมัยใหม่
- ได้ความตรงต่อเวลา
- ควบคุมค่าใช้จ่ายได้ง่ายกว่า
- สามารถปรับปรุงระบบโดยผู้รับจ้างพัฒนาระบบได้
- เอกสารประกอบการพัฒนาระบบมีความครบถ้วนและได้มาตรฐาน
2.2.3 ข้อเสีย
- ผู้รับจ้างพัฒนาที่มืออาชีพอาจมีน้อย
- องค์กรสูญเสียความลับภายใน
- ต้องอยู่ในภาวะพึ่งพาผู้รับจ้างพัฒนาเสมอๆ
- อาจมีการต่อต้านผู้รับจ้างซี่งเป็นบุคคลภายนอกองค์กร
- มีค่าใช้จ่ายสูงในระยะเริ่มต้น
2.3 การใช้โปรแกรมสำเร็จรูป (Package Software)
2.3.1 ความหมาย
การใช้โปรแกรมสำเร็จรูป หมยถึง การพัฒนาระบบโดยใช้ซอฟแวร์หรือโปรแกรมสำเร็จรูปที่พร้อม
ใช้งานได้ทันที
2.3.2 ข้อดี
- สามารถนำมาใช้งานได้ทันที
- ได้ซอฟแวร์คุณภาพดี
- ปรับปรุงเป็นรุ่นใหม่ได้ง่ายและได้ราคาประหยัด (Upgrade Version)
- มีบริการให้คำปรึกษาจากผู้จัดจำหน่าย
2.3.2 ข้อเสีย
- ปรับระบบองค์กรให้เข้ากับโปรแกรม
- ใช้ทักษะในการคัดเลือกโปรแกรมมาใช้
- ค่าใช้จ่ายสูงมากในกรณีระบบขนาดใหญ่
- อาศัยผู้จัดจำหน่ายในการอบรมและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น
ทำความเข้าใจกับปัญหาและกำหนดแนวทางแก้ไขปัญหาของระบบงานปัจจุบัน วิธีสำรวจระบบนี้มี
3 ส่วนใหญ่ๆ ดังนี้
3.1 การศึกษาระบบงานปัจจุบัน
การศึกษาระบบปัจจุบันเป็นทำความเข้าใจกับระบบการทำงานในปัจจุบันการศึกษามี 3 แนวทาง
3.1.1 การศึกษาจากเอกสารภายใน
3.1.2 การสัมภาษณ์เจ้าหน้าที่ในองค์กร
3.1.3 การศึกษาจากเอกสารภายนอกที่เกี่ยวข้องกับองค์กร
3.2 การทำความเข้าใจปัญหาของระบบปัจจุบัน
ปัญหา คือ ผลแตกต่างระหว่างสถานการณ์ที่เป็นอยู่จริงกับสถานการณ์ที่ต้องการจะให้เป็น การ
ทำความเข้าใจกับปัญหาหรือการทำความรู้จักกับตัวปัญหาที่แท้จริงที่เกิดขึ้นในระบบปัจจุบัน คือ การ
หาความแตกต่างระหว่างสิ่งที่กำลังเป็นอยู่กับสิ่งที่ต้องการให้เป็นจากระบบปัจจุบัน การกำหนดเค้าโครง
ปัญหา (Problem Definition) ซึ่งจะทำให้เราทราบสภาพปัญหาที่เกิดในระดับเบื้องต้นก่อนที่จะรวบรวม
ข้อมูลอย่างละเอียดจนพบความต้องการที่แท้จริง การทำความเข้าใจประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ
3.2.1 ตรวจสอบปัญหาเบื้องต้น
วิธีตรวจสอบปัญหาเบื้องต้น มีอยู่ 2 วิธี ดังนี้
- การตรวจสอบปัญหาจากการปฏิบัติงาน
- การตรวจสอบปัญหาจากพฤติกรรมของผู้ที่ทำงาน
3.2.2 กำหนดแนวทางการแก้ไขปัญหา
3.2.3 การทำข้อสรุปการพัฒนาระบบเบื้องต้น
3.3 การศึกษาความเป็นไปได้
การพัฒนาระบบจะมีข้อจำกัดในการพัฒนาเสมอ และข้อจำกัดนั้นก็จะส่งผลกระทบต่อการดำเนินการพัฒนาระบบรวมไปถึงผลตอบแทนที่ได้จากการพัฒนาระบบด้วย ดังนั้นจะต้องมีการศึกษาความเป็นไปได้ก่อนดำเนินโครงการพัฒนาระบบซึ่งเป็นการประเมินถึงความสมเหตุสมผล
การพัฒนาระบบต้องกำหนดวัตถุประสงค์ของการพัฒนาก่อน เพราะการกำหนดวัตถุประสงค์การ
พัฒนาเป็นการกำหนดเป้าหมายของการพัฒนา
1.4.2 ใช้ปัจจัยจากสภาพแวดล้อมมามีส่วนในการพัฒนา การพัฒนาระบบที่สำเร็จไม่เพียงระบบทำงานได้ดีเยี่ยมเท่านั้น แต่ต้องใช้งานได้จริงในสภาพแวดล้อมของระบบด้วย
1.5 การวิเคราะห์และออกแบบระบบกับการพัฒนาระบบ
การวิเคราะห์ระบบนั้นจะเป็นการศึกษาระบบเก่าหรืองานที่ใช้อยู่ในปัจจุบันมีปัญหาอย่างไร และ
ปัญหานั้นเกิดขึ้นจากอะไร รวมถึงเป็นการคิดหาแนวทางว่าจะพัฒนาระบบที่ใช้อยู่ให้ดีขึ้นและทันสมัย
ได้อย่างไร
1.5.1 ความหมาย
- การวิเคราะห์ระบบ
การวิเคราะห์ระบบเป็นการศึกษาการทำงานในระบบการทำงานปัจจุบัน เพื่อให้เข้าใจถึงปัญหา
และความต้องการ (Requirement) ที่มาจากระบบปัจจุบัน และระบบเป็นข้อสรุปเพื่อปรับปรุงระบบปัจจุบัน
หรือออกแบบระบบใหม่
- การออกแบบระบบ
การออกแบบระบบเป็นการกำหนดแบบแผนในการสร้างระบบขึ้นมาใหม่ โดยผลลัพธ์งานของ
ระบบใหม่นั้นจะเป้นไปตามความต้องการที่ได้จาการวิเคราะห์ระบบ และแก้ไขข้อบกพร่องที่พบจากระบบ
ปัจจุบัน การกำหนดแบบแผนนี้อาจจะใช้วิธีปรับปรุงหรือแก้ไขระบบการทำงานของระบบ
1.5.2 ความสำคัญต่อการพัฒนาระบบ
- การวิเคราะห์ระบบทำให้ทราบปัญหาที่เกิดขึ้นจริงและทราบความต้องการที่แท้จริงในระบบ
ปัจจุบัน
- การออกแบบระบบทำให้เกิดการแก้ไขปัญหาโดยปรับปรุงระบบปัจจุบันหรือสร้างระบบใหม่
ทำงานตามจุดประสงค์ที่กำหนดไว้ได้มากที่สุด
- การวิเคราะห์และออกแบบมีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาระบบ เพราะเป็นแนวทางดำเนิน
การในพัฒนาระบบระบบใหม่ขึ้นมา และกำหนดผลลัพธ์ปลายทางเมื่อนำมาใช้งานจริง
1.6 ประเภทของการพัฒนาระบบ
การพัฒนาระบบแบ่งงานการพัฒนาเป็น 2 ประเภท ดังนี้
- ระบบเชิงตรรกะ (Logical system)
ระบบเชิงตรรกะเป็นระบบที่มีองค์ประกอบที่มีลักษณะเป็นนามธรรม จับต้องไม่ได้ แต่สามารถ
สะท้อนผลลัพธ์ออกมาให้เป็นรูปธรรม
- ระบบเชิงกายภาพ (Physical system)
ระบบเชิงกายภาพเป็นระบบที่มีองค์ประกอบเป็นรูปธรรม จับต้องได้ ที่นำมาประยุกต์ใช้งานให้
สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของระบบ
1.7 อุปสรรคการพัฒนาระบบ
การพัฒนาระบบมักมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงในองค์กร โดยเฉพาะวิธีการทำงานในองค์กร เพราะ
การพัฒนาระบบเกี่ยวข้องกับกระบวนการทำงานในองค์กรนั่นเอง
1.7.1 การต่อต้าน
การต่อต้านมักมีสาเหตุจากมุมมองของผู้ที่รับผลกระทบจากการพัฒนาระบบ ปัญหาความขัด
แย้งหรือที่เรียกว่าปัญหาทางการเมืองภายในองค์กร เช่น
- ความไม่ไว้วางใจ
- กลัวการสูญเสียอำนาจ
- ไม่ต้องการเปลี่ยนแปลง
- กลัวการเสียวเวลา
1.7.2 ความไม่ชัดเจนในความต้องการ
ในหลายครั้งที่องค์กรต้องการระบบการทำงานใหม่เหมือนต้องการก้าวให้ทันแฟชั่น หรือต้องการ
ผลลัพธ์ในด้านภาพลักษณ์มากกว่าผลลัพธ์ทางสารสนเทศที่ได้
- ความขัดแย้งในความต้องการของแต่ละฝ่ายที่เกี่ยวข้องในองค์กร
- ความไม่เข้าใจหรือความไม่ชัดเจนในความต้องการ
- ความไม่ชัดเจนในกระบวนการในระบบที่จะได้มาซึ่งผลลัพธ์ของระบบ
1.7.3 นโยบายด้านการรักษาข้อมูลภายใน
แต่ละองค์กรมักจะมีข้อมูลที่เสี่ยงต่อความเข้าใจผิด (Sensitive Information) ต่อบุคลลภายนอก
หรืออาจเป็นข้อมูลส่วนบุคคลที่องค์กรไม่ต้องการให้มีการเปิดเผย
2. วิธีการพัฒนาระบบ
การเลือกวิธีที่ใช้ในการพัฒนาระบบที่เหมาะสมสำหรับองค์กรแต่แรก นับว่าเป็นการกำหนดกลยุทธ์
การออกแบบระบบที่จะพัฒนาขึ้นเมื่อนำระบบมาใช้งานจริงเพราะจะช่วยให้เป็นแนวทางดำเนินการใน
ระบบออกแบบระบบที่เหมาะสมกับสภาพความพร้อมของอค์กร วิธีการพัฒนาระบบมีอยู่ 3 วิธีหลักๆ คือ
2.1 การพัฒนาระบบขึ้นมาเอง (In House / Custom Development)
2.1.1 ความหมาย
การพัฒนาระบบขึ้นมาเอง หมายถึง การพัฒนาระบบขึ้นมาใช้งานเองภายในองค์กร โดยองค์กรนั้น
มีบุคลากรด้านการพัฒนาระบบเป้นของตนเอง
2.1.2 ข้อดี
- สนองต่อความต้องการของผู้ใช้ระบบได้เต็มที่
- ลดค่าใช้จ่ายด้านการจัดหาทรัพยากรด้านอุปกรณ์ไอที
- ผู้ที่พัฒนาระบบจะรู้จักองค์กรอย่างดี
- กรณีเกิดปัญหาขณะใช้งานในระบบ สามารถดำเนินการแก้ไขปัญหาได้ทันทีจากบุคลากรใน
องค์กร
2.1.3 ข้อเสีย
- มีค่าใช้จ่ายสูงสำหรับบุคลากรสูงโดยเฉพาะบุคลากรด้านไอที
- เอกสารประกอบการพัฒนาระบบอาจไม่เป็นไปตามมาตรฐาน
- ประสบการณ์น้อย
2.2 การใช้บริการจากแหล่งภายนอก
2.2.1 ความหมาย
การใช้บริการจากแหล่งภายนอก หมายถึง การพัฒนาระบบขึ้นมาโดยการว่างจ้างบุคคลภายนอก
องค์กร
2.2.2 ข้อดี
- ไม่ต้องลงทุนด้านบุคลากรเอง
- ได้บริการที่เป็นเทคโนโลยีสมัยใหม่
- ได้ความตรงต่อเวลา
- ควบคุมค่าใช้จ่ายได้ง่ายกว่า
- สามารถปรับปรุงระบบโดยผู้รับจ้างพัฒนาระบบได้
- เอกสารประกอบการพัฒนาระบบมีความครบถ้วนและได้มาตรฐาน
2.2.3 ข้อเสีย
- ผู้รับจ้างพัฒนาที่มืออาชีพอาจมีน้อย
- องค์กรสูญเสียความลับภายใน
- ต้องอยู่ในภาวะพึ่งพาผู้รับจ้างพัฒนาเสมอๆ
- อาจมีการต่อต้านผู้รับจ้างซี่งเป็นบุคคลภายนอกองค์กร
- มีค่าใช้จ่ายสูงในระยะเริ่มต้น
2.3 การใช้โปรแกรมสำเร็จรูป (Package Software)
2.3.1 ความหมาย
การใช้โปรแกรมสำเร็จรูป หมยถึง การพัฒนาระบบโดยใช้ซอฟแวร์หรือโปรแกรมสำเร็จรูปที่พร้อม
ใช้งานได้ทันที
2.3.2 ข้อดี
- สามารถนำมาใช้งานได้ทันที
- ได้ซอฟแวร์คุณภาพดี
- ปรับปรุงเป็นรุ่นใหม่ได้ง่ายและได้ราคาประหยัด (Upgrade Version)
- มีบริการให้คำปรึกษาจากผู้จัดจำหน่าย
2.3.2 ข้อเสีย
- ปรับระบบองค์กรให้เข้ากับโปรแกรม
- ใช้ทักษะในการคัดเลือกโปรแกรมมาใช้
- ค่าใช้จ่ายสูงมากในกรณีระบบขนาดใหญ่
- อาศัยผู้จัดจำหน่ายในการอบรมและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น
3. วิธีการสำรวจระบบ
การสำรวจระบบ คือ การศึกษาทำความเข้าใจลักษณะภาพรวมเบื่องต้นของระบบงานปัจจุบัน การทำความเข้าใจกับปัญหาและกำหนดแนวทางแก้ไขปัญหาของระบบงานปัจจุบัน วิธีสำรวจระบบนี้มี
3 ส่วนใหญ่ๆ ดังนี้
3.1 การศึกษาระบบงานปัจจุบัน
การศึกษาระบบปัจจุบันเป็นทำความเข้าใจกับระบบการทำงานในปัจจุบันการศึกษามี 3 แนวทาง
3.1.1 การศึกษาจากเอกสารภายใน
3.1.2 การสัมภาษณ์เจ้าหน้าที่ในองค์กร
3.1.3 การศึกษาจากเอกสารภายนอกที่เกี่ยวข้องกับองค์กร
3.2 การทำความเข้าใจปัญหาของระบบปัจจุบัน
ปัญหา คือ ผลแตกต่างระหว่างสถานการณ์ที่เป็นอยู่จริงกับสถานการณ์ที่ต้องการจะให้เป็น การ
ทำความเข้าใจกับปัญหาหรือการทำความรู้จักกับตัวปัญหาที่แท้จริงที่เกิดขึ้นในระบบปัจจุบัน คือ การ
หาความแตกต่างระหว่างสิ่งที่กำลังเป็นอยู่กับสิ่งที่ต้องการให้เป็นจากระบบปัจจุบัน การกำหนดเค้าโครง
ปัญหา (Problem Definition) ซึ่งจะทำให้เราทราบสภาพปัญหาที่เกิดในระดับเบื้องต้นก่อนที่จะรวบรวม
ข้อมูลอย่างละเอียดจนพบความต้องการที่แท้จริง การทำความเข้าใจประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ
3.2.1 ตรวจสอบปัญหาเบื้องต้น
วิธีตรวจสอบปัญหาเบื้องต้น มีอยู่ 2 วิธี ดังนี้
- การตรวจสอบปัญหาจากการปฏิบัติงาน
- การตรวจสอบปัญหาจากพฤติกรรมของผู้ที่ทำงาน
3.2.2 กำหนดแนวทางการแก้ไขปัญหา
3.2.3 การทำข้อสรุปการพัฒนาระบบเบื้องต้น
3.3 การศึกษาความเป็นไปได้
การพัฒนาระบบจะมีข้อจำกัดในการพัฒนาเสมอ และข้อจำกัดนั้นก็จะส่งผลกระทบต่อการดำเนินการพัฒนาระบบรวมไปถึงผลตอบแทนที่ได้จากการพัฒนาระบบด้วย ดังนั้นจะต้องมีการศึกษาความเป็นไปได้ก่อนดำเนินโครงการพัฒนาระบบซึ่งเป็นการประเมินถึงความสมเหตุสมผล
4. วงจรการพัฒนาระบบ
4.1 การแบ่งระยะของวงจรพัฒนาระบบ
4.1.1 การวางแผนโครงการ
4.1.2 การวิเคราะห์ระบบ
4.1.3 การออกแบบระบบ
4.1.4 การนำระบบไปใช้
4.1.5 การบำรุงรักษาระบบ
4.2 แบบแผนของวงจรพัฒนาระบบระบบ
การแสดงแบบแผนภาพวงจรพัฒนาระบบที่ผ่านมาอยู่ในรููปแผนภาพน้ำตก ออกแบบโดย Royce
4.1.1 การวางแผนโครงการ
4.1.2 การวิเคราะห์ระบบ
4.1.3 การออกแบบระบบ
4.1.4 การนำระบบไปใช้
4.1.5 การบำรุงรักษาระบบ
4.2 แบบแผนของวงจรพัฒนาระบบระบบ
การแสดงแบบแผนภาพวงจรพัฒนาระบบที่ผ่านมาอยู่ในรููปแผนภาพน้ำตก ออกแบบโดย Royce
ในปี ค.ศ. 1970 แผนภาพแบบนี้เป็นแบบที่ได้รับความนิยมทั่วไป ง่ายต่อการทำความเข้าใจและใช้กัน
มานาน
สรุปท้ายบทที่ 2
วงจรพัฒนาระบบหรือ SDLC เป็นวิธีที่นักวิเคราะห์ระบบใช้ในการพัฒนาและออกแบบระบบซึ่งแบ่งออกเป็นระยะต่างๆ ประกอบด้วย ระยะวางแผนโครงการ ระยะวิเคราะห์ระบบ ระยะออกแบบระบบ ระยะนำไปใช้งาน ระยะการประเมินผล และระยะบำรุงรักษาระบบ โดยนักวิเคราะห์ระบบต้องเข้าใจว่าพัฒนาระบบไปเพื่ออะไร ระบบเก่ามีปัญหาใดจึงต้องพัฒนาระบบใหม่ และในการพัฒนาระบบนั้นจะมีปัจจัยใดที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาระบบบ้าง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น