Cute Orange Cloud

บทที่6

บทที่ 6

บทที่ 6
การรวบรวมข้อมูล

1. ความเข้าใจพื้นฐานของการรวบรวมข้อมูล
    ความเข้าใจพื้นฐานสำหรับการรวบรวมข้อมูลจะช่วยให้การดำเนินการรวบรวมข้อมูลเป็นไปอย่างครบ
ถ้วนถูกต้อง และเหมาะสมกับสภาพการรวบรวมระบบการทำงาน โดยนักวิเคราะห์ระบบจะต้องแยกแยะ
กับปัญหาที่สังเกตพบโดยมีประเด็นต่างๆ ที่เกี่ยวข้อดังต่อไปนี้

1.1 ความหมายของการรวบรวมข้อมูล
      การรวบรวมข้อมูลในบทนี้มีความหมายในเชิงการรวบรวมข้อเท็จจริง (Fact)  ในระบบงานแต่โดย
ทั่วไปก็มักเรียกการรวบรวมข้อเท็จจริงจนติดปากว่าการรวบรวมข้อมูล  การรวบรวมข้อมูลนี้ถือเป็นหัวใจ
สำคัญในการศึกษาทำความเข้าใจกับระบบ รวมถึงศึกษาปัญหาและความต้องการของระบบ ดังนั้น วัตถุ
ประสงค์ของการรวบรวมข้อมูลคือ การได้ข้อเท็จจริงที่สามารถนำมาใช่ในขอบเขตของการปรับปรุงระบบ
งานปัจจุบันหรือใช่ในการการสร้างระบบงานใหม่แทนระบบเดิมได้

1.2 องค์ประกอบระบบงานด้านการจัดการข้อมูล
1.2.1 วัตถุประสงค์ขององค์กร
1.2.2 บุคลากรขององค์กร
1.2.3 ลักษณะข้อมูลในองค์กร
1.2.4 การปฏิบัติต่อข้อมูลในองค์กร
1.2.5 การปฏิบัติงานเกี่ยวกับการจัดการข้อมูล
1.2.6 ลักษณะทางธรรมชาติและสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการทำงานในองค์
1.2.7 สิ่งที่ผลต่อค่าของข้อมูล

1.3 ข้อควรระวังในการรวบรวมข้อมูล     เนื่องจากข้อเท็จจริงที่รวบรวมได้จะเป็นแหล่งฐานความรู้ที่สำคัญในการพัฒนาระบบดังนั้นการรวบ
รวมข้อมูลจะต้องมีหลักประกันได้ข้อมูลที่ตรงกับความเป็นการจริงและครบถ้วน ผู้ที่ทำหน้าที่รวบรวม
ข้อมูล นอกจากจะต้องอาคัยคุณสมบัติที่เหมาะแก่การวิเคราะห์ระบบตามที่ได้กล่าวไว้ในบทที่ แล้วมีวิธีการทำงานที่เหมาะสมด้วย โดยมีแนวทางดังนี้
     1. รวบรวมข้อมูลจากบุคคลที่เกี่ยวข้องโดยตรง
     2. การบันทึกข้อมูลที่เป็นศัพท์เฉพาะหรือมีคำนิยามเฉพาะจะต้องบันทึกให้ชัดเจนและครบถ้วน
     3. การรวบรวมข้อมูลให้ครบถ้วนมักต้องทำมากกว่า ครั้ง
     4. รวบข้อมูลที่ได้อย่างเป็นลายลักษณ์อังษร ควรขอการเช็นชื่อรับรอบ ข้อมูลจากผู้ให้ข้อมูลทุกครั้ง

         และผู้ที่รวบรวมข้อมูลก็ควรทำหนังสือแจ้งการรับทราบข้อมูลให้กับผู้ให้ข้อมูลด้วย
     5. ในกรณีที่มีการวิเคราะห์ข้อมูลจนได้ความต้องการออกมา  ควรมีการตกลงยอมรับในความต้องการ
         ร่วมกัน ระหว่างนักวิเคราะห์ระบบกับเจ้าของระบบ
     6. ยิ่งมีแหล่งข้อมูลมาก ยิ่งจะพบความขัดแย้งของข้อมูลมากขึ้น จะต้องหาวิธีกำจัดความขัดแย้งของ 
         ข้อมูลโดยเร็วที่สุด
     7. ระมัดระวังการใช้เวลาในการรวบรวมข้อมูลที่มากจนเกินไป ข้อมูลที่รวบรวมจะต้องอยู่ในขอบเขต
         ของการพัฒนาระบบเท่านั้น




2. เทคนิคการรวบรวมข้อเท็จจริง
    เทคนิคการรวบรวมข้อเท็จจริง (Fact Gathering) เป็นวิธีการที่ใช้รวบรวมข้อเท็จจริงแบบดั้งเดิมได้รับความนิยมมานานในการรวบรวทข้อมูลจนถึงปัจจุบัน บางครั้งเรียกว่าเทคนิคที่ใช่ในการกำหนดความต้องการ เพราะข้อเท็จจริที่รวบรวมได้ถูกนำมาวิเคราะห์หาความต้องการที่แท้จริงในการพัฒนาระบบ มีเทคนิคต่างๆ ดังนี้
     ·  การสัมภาษณ์
     ·  การสังเกตการณ์ทำงาน
     ·  การจัดทำแบบสอบถาม
     ·  การสุ่มและประเมินผล

 2.1 การสัมภาษณ์
       การสัมภาษณ์เป็นวิธีหาข้อมูลและได้รายละเอียดในประเด็นที่ต้องการจากตัวบุคคลโดยตรง โดย
 นักวิเคราะห์ระบบจะเป็นผู้สัมภาษณ์บุคคลที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาระบบ เช่น ผู้ปฏิบัติงาน ผู้ใช้สนเทศของระบบ ผู้บริหารองค์กร แนวทางการสัมภาษณ์ที่ดังนี้
 2.1.1 ประเภทการให้สัมภาษณ์
        แบ่งเป็น ประเภท คือ
    1. การสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง ( Unstructured Interview )
    การสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้างเป็นการสัมภาษณ์ที่ไม่มีกำหนดคำถามล่วงหน้า แต่อาจจะมีแนว

คำถามแบบกว้างหรือคำถามทั่วไป ผลลัพธ์ที่ได้จากการสัมภาษณ์แบบนี้ จึงมักเป็นการ สนทนาทั่วไป 
ไม่เหมาะสำหรับงานด้านการวิเคราะห์และการออกแบบระบบ แต่เหมาะสำหรับการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันในเบี้ยงต้น
     2. การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง ( Structured Interview )
    การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างเป็นการสัมภาษณ์แบบที่มีการวางกรอบและกำหนดคำถามได้ไว้อย่าง

เฉพาะเจาะจง แม้มีประเด็นเพิ่มเติมขณะสัมภาษณ์ก็จะอยู่ในกรอบที่กำหนดไว้แต่แรก
2.1.2 ขั้นตอนทั่วไปในการดำเนินการการสัมภาษณ์
         การสัมภาษณ์มีขั้นตอนตามลำดับดังนี้
    1. เปฺิดสัมภาษณ์ (Interview Opening)
     
ช่วงการเปิดสัมภาษณ์เป็นช่วงเวลาที่เริ่มต้นให้เกิดบรรยากาศที่ดีในการสัมภาษณ์ และเกิดความ
กระตือรือร้นในการให้ความร่วมมือของผู้ให้สัมภาษณ์ ได้แก่ การจูงใจ โน้มน้าวใจ ดังนั้น ผู้สัมภาษณ์ควร
มีการวางตัวถูกต้องเหมาะสม และแจ้งวัตถุประสงค์การสัมภาษณ์การสัมภาษณ์ การนำข้อมูล แก่ผู้ให้
สัมภาษณ์
    2. สัมภาษณ์ (Interview Body)
   ช่วงการสัมภาษณ์เป็นช่วงสำหรับการถามคำถามที่ได้เตรียมการไว้ และวอบถามข้อสงสัยที่อาจมีเพิ่ม

เติมนอกเหนือคำถามที่ได้เตรียมไว้ หรืออาจจะมีการข้ามคำถามที่เตรียมไว้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความเหมาะ
สมในขณะสัมภาษณ์ ต้องรักษาบรรยากาศที่ดีไว้ ไม่ว่าด้วยการใช้ ภาษาพูดหรือภาษากาย
    3. ปิดสัมภาษณ์ ( Interview Conclusion )
    ช่วงการสัมภาษณ์เป็นช่วงเวลาการเริ่มต้นให้เกิดบรรยากาศที่ดีในการสัมภาษณ์ครั้งต่อไป กรณีที่ยัง

ต้องการข้อมูลเพิ่มแต่ผู้ไว้ หรืออาจจะมีการข้ามคำถาม
2.1.3 การเตรียมการสัมภาษณ์
      การเตรียมการสัมภาษณ์ที่ดี ย่อมทำให้การสัมภาษณ์มีประสิทธิภาพมีข้อแนะนำดังนี้
      1. กำหนดวัตถุประสงค์การสัมภาษณ์
          ตัวอย่างเช่น ต้องการข้อมูลเชิงนโยบายหรือเชิงปฏิบัติการต้องการข้อมูลเชิงกระบวนงานหรือ 

          เชิงเทคนิคต้องการข้อเท็จจริงหรือข้อเสนอแนะ
      2. เตรียมคำถามสำหรับกสารสัมภาษณ์
          ให้กำหนดประเภทการตั้งคำถามที่สอดคล้องวัตถุประสงค์โดยเลือกประเภทคำถามที่เหมาะสม 
          1) คำถามปลายเปิด
          2) คำถามปลายปิด
3.ตั้งคำถามที่มีลักษณะที่ดี ดังนี้
    ·  คำถามที่กระชับ เข้าใจง่าย
    ·  ระวังการเสนอความเห็นหรือชี้นำในคำถาม
    ·  ระวังการแสดงออกในเชิงข่มขู่ในคำถาม
4. กำหนดบุคคลที่เหมาะสมและนัดหมายการสัมภาษณ์ล่วงหน้า
    บุคคลที่เหมาะสมจะขึ้นกับวัตถุประสงค์ของการสัมภาษณ์ หากเป็นไปได้ควรส่งคำถามหรือแนว

คำถามผู้ที่เรานัดหมาย เพื่อให้ผู้ให้สัมภาษณ์ได้มีโอกาสเตรียมตัวได้ดีมากขึ้น
2.1.4 ข้อแนะนำสำหรับการสัมภาษณ์
         1. ต้องมีการเตรียมตัวการสัมภาษณ์ที่ดี
         2. ผู้สัมภาษณ์ต้องตั้งใจฟังอย่างระมัดระวังและจดบันทึกด้วยความระมัดระวัง หรือขออนุญาต
             บันทึกเสียงเพื่อชดเชยความบกพร่องที่อาจมีขณะจดบันทึก
         3. ควรสรุปความเข้าใจจากการสัมภาษณ์เป็นสารสนเทศได้จากการสัมภาษณ์ภายใน 48 ชั่วโมง
             เพื่อป้องกันการลืม
         4. ผู้สัมภาษณ์ต้องมีความเ็นกลาง ระวังการให้ความคาดหังแก่ผู้ให้สัมภาษณ์เป็นพิเศษ เพราะ
หาก
             มีผู้ที่ต้องการสัมภาษณ์หลายคน ก็จะมีมุมมองต่องๆ เพิ่มขึ้น ความต้องการอาจขัดแย้งกัน
         5. ผู้สัมภาษณ์ต้องหามุมมองที่หลากหลาย เพราะแต่ลพบุคคลมีพื้นภูมิทางความคิดต่างกัน
             บทบาทความรับผิดชอบต่างกัน ก็จะมีมุมมองต่อเรื่องเดียวกันที่ต่างกันได้

2.2 การสังเกตการณ์ 
    การสังเกตการณ์เป็นวิธีรวบรวมข้อมูลที่มาจากการเห็นสภาพการทำงานจริงโดตตรง ทำให้เกิดความ

เข้าใจทั้งกระบวนงานได้ง่าย
2.2.1 ข้อดี
         1. ข้อมูลที่รวบรวมได้มีความน่าเชื่อถือสูง เพราะมาจากสภาพการทำงานจริง
         2. ผู้วิเคราะห์ระบบเห็นขั้นตอนต่างๆ ในกระบวนการชัดขึ้น
         3. ใช้ต้นทุนในการทำงานต่ำเมื่อเทียบกับวิธีอื่น
         4. เห็นความสัมภาษณ์พันธ์ระหว่างหน่วยงานต่างๆ
2.2.2 ข้อเสีย
          1. การสังเกตการณ์อาจส่งผลต่อการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ได้แก่ ความอึดอัดขณะกำลัง                         ทำงานซึ่งจะส่งผลให้เกิดการทำงานที่ผิดพลาด ได้สูง
          2. อาจใช้เวลาานสำหรับบางกะบวนการ จึงจะได้ข้อมูลที่ครบถ้วน
          3. การสังเกตการณ์บางด้านอาจไม่สะดวก
          4. กรณีเฉพาะในกระบวนการอาจมีโอกาศเกิดน้อย หรือไม่เกิดเลย

2.3 การจัดทำแบบสอบถาม
      การทำแบบสอบถามเป็นการวิธีรวบรวมข้อมูลแบบสื่อสารทางเดียว เมื่อเปรียบเทียบกับการ
สัมภาษณ์
แล้วการรวบรวมข้อมูลวิธีนี้จะได้ความเข้าใจที่จำกัดตามคำถามที่อยู่ในแบบสอบถาม แต่วิธีนี้สามารถเก็บ
ข้อมูลจากหลายๆส่วน
2.3.1 การเลือกกลุ่มผู้ตอบแบบสอบถาม
  1. เลือกตามความสะดวก
  2. เลือกแบบสุ่ม
  3. เลือกตามวัตถุประสงค์เฉพาะที่กำหนด
  4. เลือกจากกลุ่มบุคคลตามที่ได้จัดกลุ่มไว้
2.3.2 การออกแบบสอบถาม
        ให้เลือกประเภทการตั้งคำถามที่เหมาะสมในขณะที่ดำเนินการรวบรวมข้อมูล โดยมีหลักพิจารณา
ในการเลือกดังนี้
1. คำถามแบบปลายเปิด มีจุดเด่นคือ
    1) ใช้เวลาน้อยและมีความง่ายในการจัดทำ แต่ใช้เวลานานสำหรับการตอบคำถาม
    2) ผู้ตอบสามารถแสดงความเหฌนส่วนตัวที่หลากหลายได้ดี จึงเหมาะแก่การขอข้อเสนอแนะ
2. คำถามแบบปลายปิด มีจุดเด่นคือ
    1) ใช้เวลาทำนนและมีความยากในการจักทำแต่ใช่เวลาน้อยในการตอบคำถาม
    2) ผู้ตอบแสดงความเห็นไม่ได้ ต้องตอบตามตัวเลือกที่กำหนด จึงเหมาะสำหรับผลลัพธ์ทางสถิติ
2.3.3 ข้อควรระวังในการตั้งคำถาม
         เนื่องจากแบบสอบถามเป็นการสื่อสารด้วยลายลักษณ์อักษณ สื่อสารทางเดียว และอาจไม่สามารถ
รับคำอธิบายเพิ่มเติมได้ จึงต้องระวังสำหรับการสร้างคำถาม เพื่อให้ได้ความชัดเจนแทน เช่น
  1. ความหมายต้องชัดเจน ไม่กำกวม
      ควรตั้งแล่ละคนตีความเชิงปริมาณไม่เหมือนกันแต่ควนกำหนดเป็นปริมาณที่ชัดเจนแทน เช่น เฉลี่ย

      ครั้งต่อวันหรือเฉลี่ย วันต่อสัปดาห์ เป็นต้น
  2. คำถามต้องไม่ยาวเกินความจำเป็น
      ประโยคคำถามควรสั้นกระทัดรัด เพราะประโยคคำถามที่ยาวขึ้น หรืแการใช่ประโยคซ้อนประโยค
      อาจทำให้มีการตีความที่ต่างจากจุดประสงค์ของคำถามได้

2.4 การสุ่มและการประเมินผล
      การสุ่มและการประเมินผลเป็นวิธีการหาข้อมูลที่มียุคลากรจำนวนมาก มีเหตุการณ์หรือการเปลี่ยน 
แปลงมาก หรือการทำงานมากจนไม่สามรถศึกษาข้อมูลจากทุกกลุ่มหรือกระบวนการได้ข้อมูลบางส่วน 
วิธีนี้เป็นวิธีที่ได้ผลดีอีกวิธีหนึ่ง ตัวอย่าง เช่าน ในหัวข้อ 2.1 ถึง 2.3 ที่ผ่านมาในบางกรณี เมื่อเปรียบเทียบ
กับการ สัมภาษณ์แล้ว การรวบรวมข้อมูลวิธีนี้จะได้ความเข้าใจที่จำกัดตามคำถามที่อยู่ในแบบสอบถา 
แต่วิธีนี้สามารถเก็บข้อมูลจากหลายๆ
     นอกจากนี้เราอาจจะต้องอาศัยการหาค่าสถิติที่ต้องนำไปใช้ในการทำงานของ ระบบงาน เช่น การ
สร้างระบบสำหรับการคาคการณ์ต่างๆ จะต้องอาศัยการวิจัยข้อมูลที่มีในอดีตเพื่อใช่เป็นฐานในการคาด
คะเนการวิจัยข้อมูลมีหลายวิธีที่แตกต่างกันไปตามลักษณะงานซึ่งจะไม่กล่าวในรายละเอียดในที่นี้

3. เทคนิคการออกแบบระบบแบบมีส่วนร่วม หรือ JAD
    การกำหนดความต้องการแบบใหม่ เป็นเทคนิคกำหนดบุคคลที่เหมาะสมและนัดหมายการสัมภาษณ์
ล่วงหน้าบุคคลที่เหมาะสมจะขึ้นกับวัตถุประสงค์ของการสัมภาษณ์ หากเป็นไปได้ ควรส่งคำถามหรือแนว
คำถามผู้ที่เรานัดหมาย เพื่อให้ผู้ให้สัมภาษณ์ได้มีโอกาศเตรียมตัวได้ดีมาก

3.1 ลักษณะของเทคนิค JAD
3.1.1 ที่มา
    ช่วยนักวิเคราะห์ระบบ (systems analysts: SA) ในการวิเคราะห์และออกแบบระบบข้อมูลข่าวสารต่างๆ
 
โดยการใช้ซอฟต์แวร์ที่ช่วยสร้างแผนภาพ รายงาน โค้ดโปรแกรม ในระหว่างการวิเคราะห์และออกแบบ
ระบบให้เป็นไปโดยอัตโนมัติ ซึ่งเป็นโปรแกรมประยุกต์หรือเป็นซอฟต์แวร์ชนิดหนึ่งของเทคโนโลยี
สารสนเทศ ที่ช่วยในการพัฒนาระบบ คอยสนับสนุนการทำงานในแต่ละขั้นตอนของการพัฒนาด้วยการ
เตรียมฟังก์ชั่นการทำงานต่าง ๆ ที่ทำให้การทำงานแต่ละขั้นตอนมีความรวดเร็วและมี
3.1.2 แนวคิด
ที่ใช้ในการพัฒนาระบบถูกแบ่งขอบข่ายการทำงานออกเป็น ช่วง โดยการแบ่งนั้นอ้างอิงจากขั้นตอน
การพัฒนาระบบในวงจร SDLC ซึ่งมีดังต่อไปนี้
          Upper-CASE เป็นเครื่องมือที่ช่วยสนับสนุนการทำงานในขั้นตอนต้น ๆ ของการพัฒนาระบบ 
          ได้แก่ ขั้นตอนการวางแผน ขั้นตอนการวิเคราะห์ และขั้นตอนการออกแบบระบบ
          Lower-CASEเป็นเครื่องมือที่ช่วยสนับสนุนการทำงานในขั้นตอนสุกดท้ายในการพัฒนาระบบ
          ได้แก่ ขั้นตอนการออกแบบ ขั้นตอนการพัฒนาและทดสอบระบบ และขั้นตอนการให้บริการหลัง
          การติดตั้งระบบ
จะเห็นว่า CASE ทั้งสองระดับนี้ มีการำงานที่ซ้ำซ้อนกันอยู่ บางครั้งองค์กรอาจเลือกใช้งาน CASE Tools
ทั้ง ระดับร่วมกันได้

3.2 องค์ประชุม
      การทำงานในยุคปัจจุบันมีลักษณะการท างานเป็นทีม มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน เครื่องมือ
ที่ช่วยให้ การท างานเป็นทีมสัมฤทธิ์ผลคือ วิธีการประชุมอย่างมีประสิทธิผล หากการประชุมดำเนินไป
อย่างไม่ถูกวิธีย่อม สูญเสียทรัพยากรและประสิทธิผลที่จะเกิดจากการร่วมคิดร่วมทำไปอย่างน่าเสียดาย
หนังสือเล่มนี้จึงได้แนะน า เทคนิคการประชุมแบบมืออ ขั้นตอนหรือกระบวนการร่วมกันของกลุ่มคนเพื่อ
เป้าหมายในการดำเนินธุรกิจ ซึ่งมีความสำคัญอย่างยิ่งในการดำเนินการขององค์กร การประชุมที่ดีนั้น
ต้องช่วยในการตัดสินใจของคณะการวางแผนและการติดตามผลการมอบหมายความรับผิดชอบซึ่งถ้ามี
การดำเนินการประชุมอย่างมีประสิทธิผล ก็จะทำให้องค์กรมีประสิทธิภาพ 
3.2.1 ผู้นำการประชุม
   ขั้นตอนหรือกระบวนการร่วมกันของกลุ่มคนเพื่อเป้าหมายในการดำเนินธุรกิจ ซึ่งมีความสำคัญอย่าง
ยิ่งในการดำเนินการขององค์กร การประชุมที่ดีนั้นต้องช่วยในการตัดสินใจของคณะ การวางแผนและการ
ติดตามผล การมอบหมายความรับผิดชอบ ซึ่งถ้ามีการด าเนินการประชุมอย่างมีประสิทธิผล ก็จะทำให้
องค์กรมีประสิทธิภาพ โดยทั่วไปการประชุมแบ่งออกได้ ประเภท ดังนี้ 
3.2.2 ผู้ใช้หรือผู้ปฏิบัติงานจริงในระบบ 
   การประชุมเพื่อแจ้งข้อมูลข่าวสาร เป็นการประชุมเพื่อทำความเข้าใจเรื่องต่างๆ เช่น นโยบายองค์กร 
กฎระเบียบต่างๆ เป็นต้น ดังนั้นจึงต้องมีการจัดกลุ่มผู้เข้าร่วมประชุมให้สอดคล้องกับเรื่องที่แจ้งให้ทราบ
การประชุมเพื่อเร่งเร้าจูงใจและประกาศเกียรติคุณ การประชุมเช่นนี้เป็นการประชุมที่สำคัญในยามที่
องค์กรต้องการให้พนักงานมีความมุ่งมั่นและทุ่มเทไปสู่เป้าหมาย ผู้นำการประชุมควรทำให้ทุกคนฮึกเหิม
และให้คำมั่นสัญญาว่าจะร่วมกันไปสู่เป้าหมายให้จงได้
3.2.3ผู้บริหารองค์กร 
   การประชุมเพื่อร่วมกันคิดสร้างสรรค์เช่น เพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหา ระดมความคิดพัฒนางาน เป็นต้น
3.2.4ผู้ให้การสนับสนุน 
   การประชุมเพื่อร่วมกันตัดสินใจ การประชุมนี้มักเกี่ยวกับเรื่องที่ต้องการ การตัดสินใจแก้ไขปัญหาองค์ 
ประชุมควรประกอบด้วยผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับเรื่องนั้นๆ
3.2.5 นักวิเคราะห์ระบบ 
   การประชุมเพื่อสอนงานและฝึกอบรม การประชุมนี้มักเกี่ยวกับเรื่องที่มีการเปลี่ยนแปลงใหม่ในที่ทำงาน
เช่น การสอนวิธีใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ชนิดใหม่
3.2.6 เลขาที่ประชุม
  องค์กรต้องการให้พนักงานมีความมุ่งมั่นและทุ่มเทไปสู่เป้าหมาย ผู้นำการประชุมควรทำให้ทุกคน
ฮึกเหิมและให้คำมั่นสัญญาว่าจะร่วมกันไปสู่เป้าหมายให้จงได้
3.2.7 บุคลากรด้านสารสนเทศขององค์กร
   เทคนิคการประชุมแบบมือขั้นตอนหรือกระบวนการร่วมกันของกลุ่มคนเพื่อเป้าหมายในการดำเนินธุรกิจ
ซึ่งมีความสำคัญอย่างยิ่งในการดำเนินการขององค์กร การประชุมที่ดีนั้นต้องช่วยในการตัดสินใจของ
คณะการวางแผนและการติดตามผลการมอบหมายความรับผิดชอบซึ่งถ้ามีการดำเนินการประชุมอย่างมี
ประสิทธิผล ก็จะทำให้องค์กรมีประสิทธิภาพ

3.3 เครื่องมือที่ใช่ในการประชุม
3.3.1 โปรแกรมกลุ่ม
          CASE Tool (Computer-Aided Software Engineering) เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์และ
ออกแบบระบบซึ่งมีความสามารถหลัก ๆ คือ ช่วยนักวิเคราะห์ระบบ (systems analysts: SA) ในการ
วิเคราะห์และออกแบบระบบข้อมูล ข่าวสารต่าง ๆ โดยการใช้ซอฟต์แวร์ที่ช่วยสร้างแผนภาพ รายงาน 
โค้ดโปรแกรม นระหว่างการวิเคราะห์และออกแบบระบบให้เป็นไปโดยอัตโนมัติ ซึ่งเป็นโปรแกรม
ประยุกต์หรือเป็นซอฟต์แวร์ชนิดหนึ่งของเทคโนโลยีสารสนเทศที่ช่วยในการพัฒนาระบบ คอยสนับสนุน
การทำงานในแต่ละขั้นตอนของการพัฒนา ด้วยการเตรียมฟังก์ชั่นการทำงานต่าง ๆ ที่ทำให้การทำงาน
แต่ละขั้นตอนมีความรวดเร็วและมีคุณภาพมากขึ้น
          CASE Tool จะช่วยแบ่งเบาภาระของนักวิเคราะห์ระบบได้มาก ตั้งแต่การช่วยสร้าง Context
Diagram, Flowchart, E-R diagram สร้างรายงานและแบบฟอร์ม ตลอดจนการสร้างโค้ดโปรแกรม 
(Source Code) ให้อัตโนมัติอีกด้วย
3.3.2 ระบบต้นแบบ
ที่ใช้ในการพัฒนาระบบถูกแบ่งขอบข่ายการทำงานออกเป็น ช่วง โดยการแบ่งนั้นอ้างอิงจากขั้นตอน
การพัฒนาระบบในวงจร SDLC ซึ่งมีดังต่อไปนี้
          Upper-CASE เป็นเครื่องมือที่ช่วยสนับสนุนการทำงานในขั้นตอนต้น ๆ ของการพัฒนาระบบ ได้แก่
ขั้นตอนการวางแผน ขั้นตอนการวิเคราะห์และขั้นตอนการออกแบบระบบ
          Lower-CASEเป็นเครื่องมือที่ช่วยสนับสนุนการทำงานในขั้นตอนสุกดท้ายในการพัฒนาระบบ
ได้แก่ ขั้นตอนการออกแบบ ขั้นตอนการพัฒนาและทดสอบระบบ และขั้นตอนการให้บริการหลังการ
ติดตั้งระบบ
          จะเห็นว่า CASE ทั้งสองระดับนี้ มีการำงานที่ซ้ำซ้อนกันอยู่ บางครั้งองค์กรอาจเลือกใช้งาน
CASE Tools ทั้ง ระดับร่วมกันได้

3.4 ผลดี - ผลเสียของเทคนิค JAD
3.4.1 ข้อดี
         ประหยัดเวลาได้คำตอบตรงตามเป้าหมายควบคุมการสัมภาษณ์ง่ายครอบคลุมสิ่งที่ต้องการ
3.4.2 ข้อเสีย
         1. มีความจำกัดด้านการส่วนร่วม
         2.อาจมีคนผูกขาดในการแสดงความคิดเห็น
         3.บางคนอาจกลัวการถูกวิพากษ์วิจารณ์จากผู้อื่น
         4. คนส่วนใหญ่อาจไม่กล้าวิพากษ์วิจารณ์

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น