Cute Orange Cloud

บทที่3

บทที่ 3

บทที่ 3
นักวิเคราะห์ระบบและการวิเคราะห์ระบบ

1.นักวิเคราะห์ระบบ

1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ
      นักวิเคราะห์ระบบหมายถึง ผู้ที่ทำหน้าที่ในการวิเคราะห์เเละออกเเบบระบบ โดยการศึกษาเเละควา
ต้องการของระบบในองค์กรเเละกำหนดเเนวทางเเก้ไขปัญหาที่ดีที่สุด

1.2 บทบาทของนักวิเคราะห์ระบบ
      บทบาทที่สำคัญที่มาพร้อมกับลักษณะงานของการทำงานของนักวิเคราะห์ระบบ คือ ทำหน้าทำงาน
เป็นตัวกลางประสานงานกับบุคคลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์เเละออกเเบบ เพราะการพัฒนาระบบ
นั้นๆไม่ใช่เพียงการออกเเบบเเละพัฒนาโปรเเกรมคอมพิวเตอร์เท่านั้น เเละมีวัตถุประสงค์ในการเเก้ไข
ปัญหาหรือกำหนดองค์ประกอบ
1.2.1 บทบาทในการทำงาน
         1. ศึกษาเเละประเมินความเป็นไปได้ของการพัฒนาระบบ
         2. วิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้นจากองค์กร
         3. กำหนดเเนวทางเเก้ไขปัญหาเเละสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของระบบ
         4. กำหนดเเนวทางเลือกเเบบต่างๆ ที่เหมาะสมในการเเก้ไขปัญหา
         5. กำหนดเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีความเหมาะสม
         6. ให้คำเเนะนำเเก้โปรเเกมเมอร์ผู้ใช้เมื่อระบบถูกสร้างขุ้นมาใช้งานจริง
1.2.2 ลักษณะการทำงาน
         ลักษณะการทำงานของนักวิเคราะห์ระบบจะมีความเเตกต่างกันไป ทั้งนี้ขึ้นอยู่ขนาดของหน่วยงาน
ที่นักวิเคราะห์ทำงานอยู่ หรือขึ้นอยู่กับขนาดโครงการพัฒนาระบบสารสนเทศ

1.3 ความสำคัญของนักวิเคราะห์ระบบ
      จากความหมายของบทบาทเเละนักวิเคราะห์ระบบตามที่กล่าวมา พอสรุปความสำคัญของนักวิเคราะห์ระบบได้ดังต่อไปนี้
      1. ผู้ศึกษาปัญหาเเละประเมินความเหมาะสมหรือความเป็นไปได้ในการพัฒนาระบบ
      2. เป็นผู้ประสนความเข้าใจระหว่างบุคคลที่เกี่ยวข้องกับผู้พัฒนาระบบ ได้เเก่
          1) ผู้บริหารองค์กร
          2) บุคลกรที่เป็นผู้ใช้งานระบบ
          3) โปรเเกรมเมอร์
      3. เป็นผู้ตัดสินใจเลือกเเนวทางเเก้ไขปัญหาที่ดีที่สุดให้กับองค์กร ได้เเก่
          1) การบริหารจัดการข้อมูล
          2)การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
      4. เป็นผู้ออกเเบบเเละพัฒนาระบบให้กับองค์กร
      5. เป็นผู้ประเมินผลการทำงานของระบบในองค์กรว่าบรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้หรือไม่

1.4 หน้าที่ของนักวิเคราะห์ระบบ
      นักวิเคราะห์ระบบต้องทำงานเข้ากับทุกคนในองค์กรได้  สำหรับหน้าที่ที่สำคัญของนักวิเคราะห์ระบบ
มีดังนี้
      1. เป็นที่ปรึกษาให้กับทุกคนที่ทำงานในระบบ หน้าที่นี้ถือเป็นหน้าที่หลักของนักวิเคราะห์ระบบ

      2. ทำหน้าที่สนับสนุนให้กับผู้เชี่ยวชาญด้านต่างๆ

2. คุณสมบัติของนักวิเคราะห์
นักวิเคราะห์ระบบมีบทบาทเเละความรับผิดชอบในหลายๆ ด้านเเละมีผลต่อตวามสำเร็จในการพัฒนา
ระบบ

2.1ความชำนาญด้านการวิเคราะห์
2.1.1 การคิดเชิงระบบ
2.1.2 ความรู้เกี่ยวกับองค์กร
2.1.3 การระบุปัญหา
2.1.4 การวิเคราะห์ปัญหาดดละการหาคำตอบเพื่อเเก้ไขปัญหา

2.2 ความชำนาญด้านเทคนิค
2.2.1 ความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
2.2.2 ความรู้ด้านการเขียนโปรเเกรมคอมพิวเตอร์

2.3 ความชำนาญด้านบริหารจัดการ
      เเม้บทบาทด้านงานบริหารจะเป็นผู้จัดการโครงการ เเต่โดยบทบาทของนักวิเคราะห์ระบบที่ต้องทำ
หน้าที่ประสานความเข้าใจระหว่างบุคคลต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาระบบ
      1. การบริหารทรัพยาการ
      2. การบริการโครงการ
      3. การบริการความเสี่ยง
      4. การบริหารการเปลี่ยนเเปลง

2.4 ความชำนาญด้านมนุษย์สัมพันธ์
      บทบาทของนักวิเคราะห์ระบบที่สำคัญอย่างหนึ่งคือ การที่ประสานความเข้าใจระหว่างบุคลต่างๆ
ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาระบบ เช่น การรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องจากเเหล่งต่างๆเพื่อนำมาวิเคราะห์
นั้นต้องเกี่ยวข้องกับบุคคลต่างๆ มากมาย เมื่อเข้าใจปัญหาเเละความต้องการที่เเท้จริงเเล้ว
นักวิเคราะห์ระบบต้องสื่อสารความต้องการของผู้ใช้งาน
2.4.1 ทักษะด้านการสื่อสาร
2.4.2 ทักษะด้านการทำงานโดยลำพังเเละการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่มในเวลาเดียวกัน
2.4.3 การอำนวยความสะดวกให้กับกลุ่มคน
2.4.4 การบริหารจัดการคาดหวังที่ผู้ใช่เเละบริหารมีต่อระบบที่ดำเนินการพัฒนา

2.5 ความตะหนักด้านการประกอบอาชีพ
2.5.1 มีมาตฐานในการปฏิบัติงาน
         การประกอบอาชีพใดๆ ย่อมมีมาตฐานทางวิชาชีพ ผลงานของนักวิเคราะห์ระบบก็เช่นเดียวกัน 
         ที่ต้องเป็นที่เชื่อถือเเละไว้วางใจได้
2.5.2 มีจรรยาบรรณในการทำงาน
         นักวิเคราะห์ระบบต้องมีจริยธรรมที่ดีงามในการทำงาน ได้เเก่ ความซื่อสัตย์สุจริต ความรับผิดชอบ
         ต่อหน้าที่ การเคราพต่อกฎหมาย

2.6 การมีลักษณะนิสัยที่เหมาะสมต่อการวิเคราะห์
นักวิเคราะห์ระบบมีลักษณะนิสัยเหมาะเเก่การวิเคราะห์ ได้เเก่
2.6.1 อยากรู้อยากเห็น
2.6.2 ไม่มีอคติ
2.6.3 ไม่หยุดอยู่กับข้อจำกัด
2.6.4 ใส่ใจในรายละเอียดปลีกย่อย
2.6.5 มีความคิดสร้างสรร

3. การวิเคราะห์ระบบ
    ถ้าหากระบบงานที่ใช้อยู่ในปัจจุบันพบว่ามีปัญหาเกิดขึ้น  ทำให้ไม่สามารถทำงานได้อย่างตรงตาม
วัตถุประสงค์ที่ต้องการ หรือหน่วยงานของเรามีการขยายงานเพิ่มขึ้นทำให้ระบบที่ใช้อยู่ไม่สามารถตอบ
สนองความต้องการได้หรือหากต้องการสร้างระบบใหม่ ดังนั้นจะต้องมีการบำรุงระบบหรือมีการออก
เเบบระบบขึ้นมาใหม่

3.1 การกำหนดความต้องการของระบบ
      การกำหนดความต้องการของระบบหมายถึง การศึกษาการทำงานในระบบปัจจุบันเพื่อนำมาวิเคราะห์
ปัญหาความต้องการที่เเท้จริง
3.1.1 ศึกษาความต้องการจากระบบปัจจุบัน
3.1.2 จัดทำข้อกำหนดความต้องการของระบบปัจุบัน

3.2 การเลือกกลยุทธ์การออกแบบที่ดีที่สุด
      กำหนดกลยุทธ์การออกแบบที่เหมาะสม จะช่วยให้เป็นแนวทางในการปฎิบัติงานในระยะออกแบบระบบมีประสิทธิภาพที่เหมาะกับสภาพแวดล้อม
3.2.1 กำหนดวิธีใช้ในการพัฒนาระบบ
3.2.2 ทบทวนแผนงานโครงการพัฒนาระบบ

3.3 กรณีศึกษา
     ต้องการให้เกิดความเข้าใจว่า กำหนดขอบเขตการพัฒนาระบบที่ถูกต้อง และได้ผลลัพธ์ที่ต้องการ
แบบเดียวกัน แต่ถ้าผลการวิเคราะห์ระบบต่างกัน ก็จะทำให้มีแนวทางแก้ไขปัญหาต่างกัน
3.3.1 ข้อมูลทั่วไปของตัวอย่าง
3.3.2 การระบุปัญหา
3.3.3 การสรุปความต้องการที่แท้จริงและการออกแบบระบบใหม่

4.เครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์ระบบ
   หมายถึงเครื่องมือที่เป็นรูปธรรมจับต้องได้ เช่น แบบจำลองต่างๆหรือซอฟต์แวร์ที่นำมาใช้ในการจัดทำ
แบบจำลอง ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการจัดทำเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์ระบบหรืออาจเป็นเครื่องมือที่
เป็นลักษณะนามธรรม

4.1 แบบจำลอง
      แบบจำลองเป็นการใช้สัญลักษณ์แทนข้อเท็จต่างๆ ในระบบ แต่สำหรับการวิเคราะห์ระบบโดยทั่วไป
จะเน้นการ ทำแบบจำลองในรูปแบบผนัง
4.1.1 ชนิดของแบบจำลองที่ใช้ในการวิเคราะห์
4.1.2 ประเภทของแบบจำลองในการพัฒนาระบบ

4.2 เครื่องสำหรับการพัฒนาระบบ
      เครื่องมือในความหมายของการพัฒนาระบบในยุคปัจจุบันแล้ว จะหมายถึงซอฟต์แวร์ที่นำมาใช้ใน
การสร้างแบบจำลองต่างๆ หรือจัดทำเอกสาร หรือใช้ออกแบบระบบงาน เช่น ออกแบบรายงาน ออกแบบ
หน้าจอโปรแกรมคอมพิวเตอร์หรือสร้างโปรแกรมคอมพิวเตอร์

4.3 เทคนิควิธีการ
      เทคนิคเป็นวิธีการเชิงแนวทางการทำงานที่นักวิเคราะห์ระบบสามารถนำไปใช้งาน เพื่อให้สามารถ
ดำเนินการพัฒนาระบบได้สมบูรณ์หรือครบถ้วนมากที่สุด ได้แก่
เทคนิคการบริหารโครงการ
เทคนิคการสัมภาษณ์
เทคนิคการสร้างแบบจำลอง
เทคนิคการออกแบบฐานข้อมูล
เทคนิคการวิเคราะห์เชิงโครงสร้าง
เทคนิคการออกแบบเชิงโครงสร้าง
เทคนิคการเขียนโปรแกรมเชิงโครงสร้าง

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น